[กลับหน้าหลัก การบริหารจัดการ] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ จะป้องกันการคอร์รัปชั่นในสำนักงานได้อย่างไร จะป้องกันการคอร์รัปชั่นในสำนักงานได้อย่างไร | ข้อมูลด้านการบริหารจัดการ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ จะป้องกันการคอร์รัปชั่นในสำนักงานได้อย่างไร, บทความ จะป้องกันการคอร์รัปชั่นในสำนักงานได้อย่างไร, ตัวอย่าง การคอร์รัปชั่นเป็นเรื่องที่พบเห็นกันทั่วไปมานานแล้วและทำกันอย่างแพร่หลาย จนคนชักจะเคยชิน ไม่ว่าในราชการ หรือเอกชน ทั้งในประเทศของเราเอง หรือต่างประเทศ ที่ถูกจับได้ต้องเข้าสู่กระบวนการยุติธรรมในศาล จนต้องถูกลงโทษจำคุกก็มีจำนวนมาก ไม่เลือกเพศ อายุ ตำแหน่งหน้าที่ ลักษณะการคอรัปชั่นที่ทำกันแพร่หลาย ก็ได้แก่การติดสินบน และรับสินบนของเจ้าหน้าที่ (Bribery) การละเลยละเว้นไม่ปฏิบัติสิ่งที่ควรทำตามหน้าที่ (Dereliction of duty) การใช้อำนาจหน้าที่เอื้ออำนวยประโยชน์ให้แก่ญาติของตนให้ได้งานทำ (Nepotism) การรายงานเท็จหรือสร้างหลักฐานให้หลงเชื่อสิ่งที่ไม่จริง (Deceitation) สิ่งเหล่านี้เกิดขึ้นได้ เพราะคนยอมรับและผู้เสียประโยชน์ก็ไม่ทักท้วง คอร์รัปชั่นมีลักษณะคล้ายไฟ ไฟจะติดได้ต้องมีองค์ประกอบสามอย่าง คือ 1) เชื้อเพลิง 2) ออกซิเจน 3) ประกายไฟ การทุจริตเกิดขึ้นได้เพราะ 1) ความเร้าใจ (Attraction) 2) ข้ออ้างความสมเหตุผล (Rationalization) และ 3) โอกาส (Occasion) หากขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง การทุจริตก็จะไม่เกิดขึ้นได้ การติดสินบนจะพบมากที่สุด เพราะทั้งผู้ให้และผู้รับได้ประโยชน์ “ใคร ๆ เขาก็ทำกัน” เป็นข้ออ้างที่ได้ยินอยู่บ่อย ๆ จะป้องกันคอร์รัปชั่นในสำนักงานได้อย่างไร 1) รวบรวมเรื่องทุจริต และอาชญากรรมที่เกิดขึ้นในสำนักงานทุกเรื่องแล้วจัดลำดับความสำคัญและศึกษาจากที่อื่นว่าเกิดขึ้นในแผนกไหน เกิดขึ้นได้อย่างไร มีใครเกี่ยวข้องบ้าง 2) ระบุการกระทำที่เป็นการทุจริต โดยตอบคำถามดังนี้ 1. ทุจริตในเรื่องอะไร 2. มีใครเกี่ยวข้องกับการทุจริตทั้งผู้ให้ ผู้รับ และคนช่วยเหลือหรือมีส่วนสนับสนุน 3. การทุจริตเกิดในส่วนไหน ในแผนกไหน เช่น แผนกพัสดุ แผนการเงิน ฯลฯ 4. การทุจริตเกิดขึ้นตามรอบบริการ หรือตามระยะเวลาในช่วงเวลาไหน เช่น ในช่วงไตรมาสที่สาม ฯลฯ 5. ปัญหานั้นใหญ่เพียงใด ใช้เวลามากแค่ไหน เสียหายมากเพียงใด และมีแนวโน้มเป็นอย่างไร 3) ความเร้าใจ ให้ทุจริตมากเพียงใด (attraction) 1. ความเร้าใจของผู้ให้ ผู้รับ และคนที่เกี่ยวข้อง คืออะไร 2. ได้ประโยชน์อะไร จากการกระทำเช่นนั้น 3. มีความเสี่ยงที่จะถูกจับได้มากแค่ไหน โทษรุนแรงมากหรือน้อย ถ้าต้องขึ้นศาล 4) ความมีเหตุผลที่อ้าง (rationalizations) 1. จริง จริงครึ่งเดียว หรือไม่จริงเลย เพราะตนเองไม่ได้อยู่ในเหตุการณ์นั้น 2. ข้ออ้างที่ยกมาแก้ตัวนั้น น่าเชื่อถือแค่ไหน คนในสำนักงานเชื่อและยอมรับหรือไม่ 3. อะไรจริง อะไรไม่จริง อะไรเป็นข้ออ้างที่สำคัญ 4. คนไหนเป็นต้นตอของเรื่องที่ไม่จริง จะบอกให้คนอื่นในสำนักงานรู้และเข้าใจได้อย่างไร 5) โอกาสที่จะเกิดทุจริตซ้ำอีก มีแค่ไหน 1. อะไรทำให้คนมีโอกาสจะทุจริต 2. ระบบงาน หรือ ขั้นตอนการทำงานไหนที่มีจุดอ่อนทำให้เกิดทุจริตได้ เช่น ขาดการสอบทาน 6) กำหนดแผนปฏิบัติ (action plan) ป้องกันการทุจริต 1. จะลดความเร้าใจให้ทุจริตลงจนหมดไปได้หรือไม่ 2. จะคิดให้รางวัลความซื่อสัตย์อย่างไร ให้มีความหมาย เป็นที่น่าพอใจ ควรแก่การยกย่อง 3. ถ้าไม่ซื่อสัตย์จะให้รับโทษรุนแรงมากขึ้น หรือ ต้องเสี่ยงมากขึ้น ทำให้ไม่น่าสนใจ ได้อย่างไร 4. ข้ออ้างที่ใช้เมื่อทุจริต ทำอย่างไร จึงมีน้อยลง จนหมดไป 5. ทำอย่างไรจะไม่ให้เกิดรายงานเท็จ หรือ ไม่ให้เกิดหลักฐานที่ใช้อ้างเมื่อทุจริต 6. จะปลุกเร้า ความสำนึกเรื่องความสุจริต ความซื่อตรง และความจริงใจให้เกิดในสำนักงานได้อย่างไร 7. จะลดโอกาสที่จะเกิดทุจริตลงให้น้อยจนหมดไปได้อย่างไร 8. จะปรับปรุงระบบงานและลำดับขั้นตอนการทำงานอย่าง ไร เพื่อเป็นการป้องกันการทุจริต ให้รู้แต่เนิ่น ๆ และแก้ไขให้เร็วที่สุด ทันเวลาก่อนที่จะเกิดความเสียหายรุนแรง เมื่อเกิดทุจริตขึ้นในสำนักงาน ต้องให้คนทำงานรู้ทั่วกัน ให้รู้ด้วยว่าฝ่ายบริหารเข้มงวดจัดการเรื่องนี้ อย่างไร เพราะถ้าคุณปกปิด ก็จะมีแต่ข่าวลือที่สร้างความลังเลใจ และอาจทำให้อยากลองดู จำนวนผู้ชม 887 ครั้ง ข้อมูลบทความในหมวดหมู่เดียวกัน กลยุทธการเอาชนะคู่แข่ง ผู้บริหารคืออะไร ? (1) คุณสมบัติหลัก 5 ประการของผู้นำแห่งอนาคต รหัสบริหาร องค์การสายพันธ์ใหม่ และ กระบวนทัศน์ การตลาดใหม่ (1) จะทำอย่างไรให้พนักงานอยู่และทำงานให้กับบริษัทยาวนานยั่งยืน