[กลับหน้าหลัก ความรู้ในงาน HR] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ หัวหน้า กับ การเสริมสร้าง ทัศนคติ ด้านความปลอดภัย หัวหน้า กับ การเสริมสร้าง ทัศนคติ ด้านความปลอดภัย | บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ หัวหน้า กับ การเสริมสร้าง ทัศนคติ ด้านความปลอดภัย, บทความ หัวหน้า กับ การเสริมสร้าง ทัศนคติ ด้านความปลอดภัย, ตัวอย่าง หัวหน้า กับ การเสริมสร้าง ทัศนคติ ด้านความปลอดภัย, HR, HRM หัวหน้างานเป็นผู้ที่มีบทบาทมาก ในเรื่องการเสริมสร้างทัศนคติด้านความปลอดภัยให้แก่พนักงาน เพราะเป็นผู้ที่อยู่ใกล้ชิดมากที่สุด (ในทุกวันที่ทำงานร่วมกัน) นอกจากนั้นยังต้องทำหน้าที่สำคัญ 2 ประการ ด้วยคือ1. เป็นผู้ตอบคำถามด้านนโยบายการบริหาารความปลอดภัยที่ใกล้ชิดที่สุดแก่พนักงาน2. เป็นผู้ตอบคำถามทางด้านการปฏิบัติที่ถูกต้องให้แก่ผ่ายบริหารและพนักงานที่อยู่ภายใต้บังคับบัญชาด้วยการเสริมสร้างทัศนคติด้านความปลอดภัยให้แก่พนักงาน อาจทำได้ด้วยการฝึกอบรม (Training) การประชุมชี้แจง (Meeting) การให้การควบคุม ดูแล และชี้แนะ (Coaching) แต่อย่างไรก็ตาม ก็จะต้องยึดหลัก 3 ประการนี้ไว้ คือ- เหตุผลทางด้านมนุษยธรรม- เหตุผลทางด้านเศรษฐกิจ- เหตุผลทางด้านกฏหมายแรงงานหัวหน้าจะช่วยสร้างบรรยากาศในการทำงานด้านความปลอดภัยในหน่วยงานของตนเองได้อย่างไรบ้าง...คำตอบคือ อาจจะต้องหาวิธีการหลายๆวิธีการและต้องทำอยู่เสมอ (ปฏิบัติบ่อยๆ จนเกิดความเคยชิน) เช่น1. สำรวจตรวจสอบตลอดเวลา2. สร้างตัวอย่างที่ดี3. กระตุ้นเตือนฝ่ายบริหารและพนักงานอยุ่เสมอ4. จัดทำแบบมาตรฐานของการทำงานที่ปลอดภัยแก่งานทุกชนิด5. วิเคราะห์หาต้นเหตุของอุบัติเหตุทุกครั้ง6. จัดหาเครื่องแต่งกาย และเครื่องป้องกันอันตรายให้เพียงพอ7. ให้ความสนใจเป็นพิเศษต่อพนักงานการจูงใจให้พนักงานใช้อุปกรณ์คุ้มครองความปลอดภัยส่วนบุคคลโดยหลักวิชาจิตวิทยาและหลักการสร้างแรงจูงใจ (Motivation) ได้กำหนดไว้ตามแนวของมาสโลว์ (Abraham Maslow) ว่ามนุษย์ทุกคนมีความต้องการ 5 ขั้นเสมอ เรียกว่า ความต้องการพื้นฐาน (Basic Needs) คือ1. ความต้องการเกี่ยวกับร่างกาย (Physiological Needs) ได้แก่ ปัจจัย 4 (เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย อาหาร ยารักษาโรค) ถ้าเป็นสมัยนี้ก็ต้องเพิ่มอีกหนึ่งก็คือ ความต้องการทางเพศ (Sex)2. ความต้องการเกี่ยวกับความมั่นคงและความปลอดภัย (Safety Needs)3. ความต้องการเกี่ยวกับสังคมหรือความผูกพันในสังคม (Belonging Needs)4. ความต้องการที่จะมีเกียรติ มีชื่อเสียง (Esteem Needs)5. ความต้องการที่จะประสบความสำเร็จในชีวิต หรือพิสูจน์ตนเองว่าได้ก้าวมาถึงจุดมุ่งหมายสุดยอดที่ตั้งไว้แล้ว (Self Actualization Needs)จากแนวความคิดข้างต้นกล่าวได้ว่า ความปลอดภัยโดยตัวของมันเองสามารถเป็นเครื่องจูงใจให้คนงานหรือพนักงานปฏิบัติตามกฏเกณฑ์ต่างๆ เพื่อความปลอดภัยของตนเองและผู้อื่นได้ในบางกรณี แต่อีกหลายกรณีกลับกลายเป็นสิ่งที่ถูกมองข้าม และไม่อาจใช้ได้ผลเท่าที่ควรจำเป็นจะต้องค้นหา ปัจจัยจูงใจอื่นๆ เพื่อทำให้คนงานหรือพนักงานยอมรับและปฏิบัติตามในเรื่องของความปลอดภัยจนได้เราอาจสรุปได้ว่า "จิตสำนึกต่อความปลอดภัย" (Safety Conscious) ของคนงานหรือพนักงานเป็นผลมาจากปัจจัยหลายประการ อาทิ- ความเป็นผู้ใหญ่- สถานภาพทางครอบครัว- ประสบการณ์ที่ผ่านมา- การศึกษาอบรม และการฝึกปฏิบัติจนเคยชินแนวทางการจูงใจ1. ในการออกคำสั่ง ต้องชี้แจงเหตุผลและแสดงถึงผลดีและผลเสียอย่างชัดเจน2. อบรมโดยเฉพาะเกี่ยวกับวินัยและกฏระเบียบว่าด้วยความปลอดภัยของโรงงานหรือสำนักงาน3. มีการจัดตั้งหัวหน้าชุดหรือหัวหน้าดูแลเป็นพิเศษ คณะกรรมการความปลอดภัย (Safety Committee) ก็จะต้องมีบทบาทอย่างสำคัญด้วย4. ระวังการชี้นำ หรือการสร้างตัวอย่างการทำงานที่ผิด5. สร้างความคิดหรือค่านิยมที่ยกย่องส่งเสริมคนที่ปฏิบัติงานอย่างปลอดภัยมากกว่าคนที่กล้าเสี่ยงปฏิบัติและรอดชีวิตมาได้6. มีการติดตามความประพฤติของคนงานหรือพนักงานที่มีสถิติเกิดอุบัติเหตุ หรือเคยได้รับอุบัติเหตุมาแล้วอย่างใกล้ชิดปัจจัยอื่นๆ ที่นำมาใช้ในการจูงใจก. ความสำเร็จของงาน (Achievement)ข. การยอมรับนับถือ (Recognition)ค. ความก้าวหน้า (Advancement)ง. ลักษณะของงาน (The Work Itself)จ. ความรับผิดชอบ (Responsibility) โดย สุชาญ โกศิน จำนวนผู้ชม 3407 ครั้ง ข้อมูลในหมวดหมู่เดียวกัน ความรับผิดชอบของลูกจ้างต่อความปลอดภัยในสถานที่ทำงาน อันตรายจากการทำงานกับเครื่องถ่ายเอกสาร หลักการปรับปรุงสภาพแวดล้อมในการทำงาน กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยในการทำงาน ความปลอดภัยในการทำงานเกี่ยวกับภาวะแวดล้อม (สารเคมี)