[กลับหน้าหลัก ความรู้ในงาน HR] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง | บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง, บทความ นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง, ตัวอย่าง นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง, HR, HRM นายจ้างต้องร่วมรับผิดชอบกับลูกจ้างในกรณีใดบ้าง การเป็นลูกจ้างนายจ้างกันตามกฎหมายนั้น คือ ตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ.2541 นั้น จะต้องมีการทำสัญญาจ้างแรงงานกันไว้เป็นหนังสือ กำหนดรายละเอียดกัน ไว้ถึงวิธีการทำงาน ค่าตอบแทน และกฎระเบียบของนายจ้างที่ตกลงการจ้างงานกันกับบุคคลธรรมดา และตกลงทำงานให้นายจ้างเพื่อขอรับค่าตอบแทน อันนี้เป็นสิ่งสำคัญและจำเป็นของลูกจ้างในการใช้ชีวิตในเมืองใหญ่ ซึ่งปัจจุบันนี้โลกได้วิวัฒนาการไปไกลมาก รวมทั้งมีค่าใช้จ่ายสูงตามไปด้วย และนอกจากนี้นายจ้างและลูกจ้างยังคงมีมิติสัมพันธ์ต่อกันด้วย ทั้งการบังคับบัญชา และการปฏิบัติตามคำสั่งของนายจ้างอันชอบด้วยกฎหมาย นอกจากความสัมพันธ์อันละเอียดอ่อนนี้แล้ว หากมีการกระทำความเสียหายของลูกจ้างต่อบุคคลภายนอกในบางกรณีแล้ว กฎหมายกำหนดให้นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับผลของการกระทำของลูกจ้างต่อบุคคลภายนอกด้วย เช่น ลูกจ้างทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกในทางการที่จ้างด้วยนั้น นอกจากลูกจ้างต้องรับผิดชอบต่อบุคคลภายนอกในการทำละเมิด ทำความเสียหายให้กับบุคคลภายนอก ยกตัวอย่างลูกจ้างขับรถไปชนกับรถยนต์ของบุคคลอื่นในเวลาการทำงานให้นายจ้าง ซึ่งกฎหมายเรียกว่าทำการงานในทางที่จ้างให้กับนายจ้าง ดังนั้น เมื่อมีการเรียกให้ชดใช้ค่าเสียหายที่ลูกจ้างทำละเมิดนั้น นายจ้างต้องร่วมรับผิดด้วยในผลแห่งละเมิดที่ลูกจ้างกระทำ กฎหมายกำหนดไว้ชัดเจนเลยในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อยู่ในมาตรา 425 ที่บัญญัติ ว่า"นายจ้างต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งละเมิด ซึ่งลูกจ้างได้กระทำไปในทางการที่จ้างนั้น" ก็หมายความว่า เมื่อลูกจ้างไปทำละเมิดต่อบุคคลภายนอกในทางการที่จ้างให้บุคคลภายนอกได้รับความเสียหาย นายจ้างก็ต้องร่วมกันรับผิดกับลูกจ้างชดใช้ค่าเสียหายให้กับบุคคลภายนอกผู้ถูกละเมิด อย่างในกรณีข้างต้น นายจ้างก็ต้องร่วมชดใช้ค่าเสียหายให้กับเจ้าของรถยนต์ที่ถูกลูกจ้างขับรถชน แต่ไม่ใช่ว่าเมื่อนายจ้างชดใช้ค่าเสียหายไปให้กับผู้ได้รับผลร้าย (บุคคลภายนอกที่เสียหาย) ลูกจ้างผู้ทำความละเมิดจะพ้นความรับผิด นายจ้างชอบที่จะได้รับชดใช้ค่าเสียหายจากลูกจ้างได้ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ อยู่ในมาตรา 426 ที่บัญญัติไว้ว่า "นายจ้างซึ่งได้ใช้ค่าสินไหมทดแทนให้แก่บุคคลภายนอก เพื่อละเมิดอันลูกจ้างในธรรมนั้น ชอบที่จะได้รับชดใช้จากลูกจ้างนั้น" ก็หมายความว่า นายจ้างจ่ายค่าเสียหายให้กับบุคคลภายนอกไปเท่าไหร่ลูกจ้างก็ต้องชดใช้ไปเท่านั้น คืนให้กับนายจ้าง เนื่องจากกฎหมายมองว่าต้นเหตุแห่งการละเมิดก็คือลูกจ้าง แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น กว่าบุคคลภายนอกจะได้รับชดใช้ค่าเสียหายโดยทางปฏิบัติแล้ว ในชีวิตจริงต้องมีการฟ้องร้องกัน และต้องฟ้องตัวนายจ้างเข้ามาเป็นจำเลยร่วมด้วย ส่วนใหญ่แล้วจะสู้คดีกันโดยตลอด บางคดีอาจจะสู้กันถึงสามศาล และเมื่อนายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างแล้ว ลูกจ้างต้องชดใช้เงินที่นายจ้างเสียไปให้กับบุคคลภายนอกที่ถูกละเมิดคืนให้กับนายจ้าง นายจ้างก็จะใช้วิธีหักเงินเดือนเป็นรายเดือนจนกว่าจะครบ เหมือนกันกับญาติของผู้เขียนคนหนึ่งเคยถูกคนขับรถตู้ของบริษัทแห่งหนึ่งขับรถชน แล้วศีรษะไปกระแทกกับรถที่ตนเองโดยสาร ต้องไปเอกซเรย์สมองที่โรงพยาบาล ผู้เขียนได้ทำหนังสือไปถึงบริษัทให้มาร่วมรับผิดกับลูกจ้าง ปรากฏว่าคดีนี้มีบริษัทประกันภัยที่ประกันรถยนต์ของบริษัทด้วย ผู้เขียนจึงให้บริษัทประกันภัยชดใช้ค่าเสียหาย บริษัทประกันภัยได้ชดใช้ค่าเสียหายให้กับญาติของผู้เขียนทั้งหมด และบริษัทประกันภัยจะไปไล่เบี้ยเอาเองกับลูกจ้างบริษัท โดยการรับช่วงสิทธิ ของบริษัท เนื่องจากหากไม่มีบริษัทประกันภัย บริษัทก็ต้องรับผิดร่วมกันกับลูกจ้างอยู่ดี และมีสิทธิที่จะได้รับชดใช้จากลูกจ้าง ที่มา: นิตยสาร Recruit Update ฉบับที่ 403 วันที่ 1-15 มิถุนายน 2547 จำนวนผู้ชม 2855 ครั้ง ข้อมูลในหมวดหมู่เดียวกัน การใช้แรงงานหญิงและเด็ก จ้างแรงงาน : Hire of Service พระราชบัญญัติกองทุนสำรองเลี้ยงชีพ (ฉบับที่ ๒) พ.ศ. ๒๕๔๒ กฏกระทรวง กำหนดอัตราเงินสมทบกองทุนประกันสงคม และกำหนดหลักเกณฑ์ วิธีการ ระยะเวลา และอัตราการจ่ายประโยชน์ทดแทนในกรณีชราภาพเป็นการเฉพาะในช่วงเวลาที่มีการลดอัตราเงินสมทบ พ.ศ. ๒๕๕๒ พระราชบัญญัติการฟื้นฟูสมรรถภาพคนพิการ พ.ศ. 2534