[กลับหน้าหลัก ความรู้ในงาน HR] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ การรับมือกับผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่ การรับมือกับผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่ | บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ การรับมือกับผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่, บทความ การรับมือกับผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่, ตัวอย่าง การรับมือกับผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่, HR, HRM “A mistake is to commit a misunderstanding.” Bob Dylan ความผิดพลาดที่ 1 ใช้วิธีการลงโทษมากกว่าแก้ไข ผู้จัดการหลายคนชอบใช้ “กระบวนการลงโทษ” ในการรับมือกับ ผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่ เพราะเชื่อว่าการใช้กฎข้อบังคับ / ระเบียบวินัย ที่เข้มงวด (เช่น มาสาย 3 ครั้งโดนหักเงินเดือน) จะควบคุมพนักงานได้ และพนักงานที่ถูกบีบบังคับแบบนี้จะลาออกไปเองในที่สุด แต่ในความ เป็นจริงแล้วพนักงานที่ได้รับการปฏิบัติเช่นนี้มักตอบโต้กลับ ซึ่งอาจทำ ให้มันยากที่หาทางออกแบบพอใจด้วยกันทั้งสองฝ่ายได้ในภายหลัง ซึ่ง ทางที่ดีผู้จัดการควรหาวิธีช่วยให้พนักงานคนนั้นเอาชนะข้อบกพร่องหรือ ปัญหาในการทำงานของเขา เพื่อให้เขาเป็นพนักงานที่มีประสิทธิผล มากขึ้น ก่อนที่จะใช้มาตรการขั้นรุนแรงกับพนักงานคนนั้น ความผิดพลาดที่ 2 ทึกทักเอาเองว่าพนักงานที่มี ผลการปฏิบัติงานไม่ดีจะลาออกไปเอง โดยที่ บริษัทไม่ต้องทำอะไร มีผู้จัดการจำนวนไม่น้อยที่เชื่อว่าผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่จะ ลาออกจากบริษัทไปเองเมื่อถึงเวลาหนึ่ง และบางครั้งผู้จัดการก็กลัวว่า มันจะทำร้ายความรู้สึกพนักงานคนนั้น ถ้าเขาบอกพนักงานว่าเขา / เธอ มีข้อบกพร่อง ดังนั้นถ้าคุณมีความคิดแบบนี้ก็เปลี่ยนความคิดได้แล้ว เพราะสิ่งสำคัญสุดที่คุณควรทำในฐานะผู้จัดการคือ ช่วยให้พนักงานหา ข้อสรุปว่าพวกเขาควรจะก้าวไปข้างหน้าด้วยการแก้ไขสถานการณ์นั้น หรือจะเลือกเดินทางอื่นที่เหมาะสมกับเขามากกว่า “ผู้ที่มีผลการปฏิบัติงานแย่” ส่วนใหญ่สมัครใจที่จะลาออกไป ถ้า ผู้จัดการช่วยใหพนักงานเข้าใจว่าเขาอาจไม่เหมาะกับงานที่เขากำลังทำ (การที่เขาจะทำงานได้ไม่ดี ไม่ได้หมายความว่าเขาเป็นคนไม่ดี ที่คุณต้อง ใช้ไม้แข็งกับเขา) ดังนั้นคุณจึงควรบอกเขาไปตรงๆ ว่าเขาจำเป็นต้อง เปลี่ยนแปลงแก้ไขสถานการณ์ของตนเอง ความผิดพลาดที่ 3 ไม่พยายามเข้าใจพนักงาน อุปนิสัยในการ “พยายามเข้าใจผู้อื่น แทนที่จะให้ผู้อื่นมาเข้าใจ เรา” เป็นหนึ่งในอุปนิสัยที่ Stephen Covey ระบุไว้ในหนังสือ “The Seven Habits of Highly Effective People” ที่เราสามารถนำมาใช้ในการรับมือ กับพนักงานที่มีผลการปฏิบัติงานแย่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ แต่ผู้จัดการ ส่วนใหญ่มักไม่ให้พนักงานได้มีโอกาสพูดแสดงความรู้สึกของตนอย่าง เต็มที่ เพราะคิดว่าพนักงานจะถือโอกาสต่อรองถ้าปล่อยให้พนักงานได้ ทำอย่างนั้น แต่การไม่เปิดโอกาสให้พนักงานได้พูดแสดงความรู้สึกความคิด เห็น กลับอาจทำให้ผู้จัดการไม่เห็นข้อมูลสำคัญที่พนักงานอยากให้ผู้จัด การรู้ ทั้งนี้การสื่อสารที่ดีจะทำให้ทั้งสองฝ่ายเข้าใจปัญหาได้ชัดเจนขึ้น ซึ่งจะนำไปสู่การแก้ปัญหาการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพ จากหนังสือ "กะเทาะระบบบริหารผลการปฏิบัติงาน" ที่มา : bloggang.com จำนวนผู้ชม 4233 ครั้ง ข้อมูลในหมวดหมู่เดียวกัน หัวหน้างานใหม่ ควรเก่งทั้งงานและเก่งทั้งคน ขั้นต่างๆ ของการวิเคราะห์งาน(The Steps in Job Analysis) การจัดทำโครงการด้าน HR บนพื้นฐานของ ROI 10 ความท้าทาย วัดกึ๋นHR อนาคต ศาสตร์และศิลป์ ผู้บริหารทรัพยากรมนุษย์