[กลับหน้าหลัก ความรู้ในงาน HR] ค้นหางาน ตำแหน่งงาน: กลุ่มงาน : ตำแหน่งงาน - แยกตามกลุ่มงาน งานเกษตร ประมง/งานปศุสัตว์/งานเหมืองแร่ งานบุคคล/งานฝึกอบรม/งานสรรหา/งานค่าจ้าง งานการตลาด/งานขาย ส่งเสริมการขาย/ Sale งานโรงแรม ท่องเที่ยว/งานอาหาร เครื่องดื่ม งานกฎหมาย นิติกร/งานปกครอง รัฐศาสตร์ งานราชการ/พนักงานราชการ/งานครู อาจารย์ งานช่างก่อสร้าง/ช่างสำรวจ/งานโยธา-รังวัด งานเทคนิคอุตสาหกรรม/งานซ่อมบำรุง งานช่างกล ช่างโลหะ/งานช่างเครื่อง ช่างยนต์ งานช่างอิเลคโทรนิค ช่างไฟฟ้า/ช่างคอมพิวเตอร์ งานเขียนแบบ/งานDrawing /งานDraftsman งานโรงงาน/งานการผลิต/งานควบคุมคุณภาพ งานประเมินราคา/งานเร่งรัดหนี้สิน/งานเก็บบิล งานบันเทิง นิเทศศาสตร์/งานโฆษณา Creative งานนำเข้า-ส่งออก Shipping/ฝ่ายต่างประเทศ/BOI งานส่งเอกสาร ส่งผลิตภัณฑ์/งานขับรถ/งานแม่บ้าน งานสำนักงาน/งานพัฒนาองค์กร/งานISO/งานเอกสาร งานบัญชี/งานการเงิน การธนาคาร/ตรวจสอบภายใน งานIT คอมพิวเตอร์/งานโปรแกรมเมอร์/งานเว็บไซต์ งานแพทย์/งานพยาบาล/งานเภสัชกร/งานสาธารณสุข งานประสานงาน/งานOrganizer/งานEvent/MC งานเลขา/งานประชาสัมพันธ์ บริการลูกค้า/งานธุรการ งานวิทยาศาสตร์/งานฟิสิกส์ เคมี สิ่งแวดล้อม งานดีไซน์เนอร์ เสื้อผ้า/ช่างเย็บ ปัก/ช่างแพทเทิร์น งานวิจัย/งานวิเคราะห์ วิศวกรรมการเกษตร/การชลประทาน วิศวกรรมคอมพิวเตอร์/วิศวกรรมระบบ วิศวกรรมไฟฟ้า/อิเลคโทรนิค/สื่อสาร/โทรคมนาคม วิศวกรรมโยธา สำรวจ วิศวกรรมเคมี/วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม/สุขาภิบาล วิศวกรรมอุตสาหการ/วิศวกรรมเครื่องกล โรงงาน/อื่นๆ งานผู้บริหาร/งานผู้จัดการ/งานผู้อำนวยการ/งานบริหาร จป.วิชาชีพ/เจ้าหน้าที่ความปลอดภัย/งานอาชีวอนามัย งานจัดซื้อ/งานสโตร์/งานคลังสินค้า/งานLogistics งานศิลปกรรมศาสตร์/งานกราฟฟิค ดีไซน์/ช่างศิลป์ งานเศรษฐศาสตร์/งานคณิตศาสตร์/งานสถิติ งานสถาปัตยกรรมศาสตร์/งานออกแบบ ตกแต่งภายใน งานอักษรศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์/ล่าม/แปลภาษา/ไกด์ งาน อื่นๆ ประเภท : ประเภทธุรกิจ - ทั้งหมด ไม่ระบุ งานราชการ / งานรัฐวิสาหกิจ คอมพิวเตอร์ /ไอที / IT อุตสาหกรรมสิ่งทอ/ เสื้อผ้า อุตสาหกรรมแก้ว/ เซรามิก อัญมณี / เครื่องประดับ โทรคมนาคม / สื่อสาร เฟอร์นิเจอร์ - ของแต่งบ้าน นำเข้า-ส่งออก / คมนาคมขนส่ง โรงแรม-รีสอร์ท/ ท่องเที่ยว ทัวร์ โรงงานอุตสาหกรรม / นิคม โรงพยาบาล/ สุขภาพ การศึกษา ค้าขายปลีก / ค้าขายส่ง ผลิต / ตัวแทนจำหน่าย จัดหางาน/ ที่ปรึกษา/ ฝึกอบรม รับเหมา - ก่อสร้าง/ วิศวกรรม การเงิน / การธนาคาร การพิมพ์ / สิ่งพิมพ์ บริการ/ บันเทิง อิเล็กทรอนิกส์ ประกันภัย-ชีวิต พลังงาน/ ปิโตรเคมีภัณฑ์ ภัตตาคาร / ร้านอาหาร ยานยนต์ / อะไหล่ การตลาด / โฆษณา ประชาสัมพันธ์ อสังหาริมทรัพย์ ออกแบบตกแต่ง/ สถาปัตยกรรม สินค้าอุปโภค / บริโภค อุปกรณ์เครื่องใช้สำนักงาน กฎหมาย / ที่ปรึกษาทางธุรกิจ ภาค: ภาค - รวมทั้งหมด กรุงเทพฯและปริมณฑล ภาคกลาง ภาคเหนือ ภาคอีสาน ภาคตะวันออก ภาคใต้ ค้น: สมัครสมาชิกไปยัง กลุ่มบริหารทรัพยากรมนุษย์ ประเทศไทย อีเมล์: ดูเอกสารที่เก็บรวบรวมไว้ ที่ groups.google.co.th ร่วมสนทนาแลกเปลี่ยนความรู้ เอกสาร และประสบการณ์ทำงาน ไม่จำกัดสาขาอาชีพ หลักการประเมิน ตัวชี้วัด kpi หลักการประเมิน ตัวชี้วัด kpi | บริหารทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ หลักการประเมิน ตัวชี้วัด kpi, บทความ หลักการประเมิน ตัวชี้วัด kpi, ตัวอย่าง หลักการประเมิน ตัวชี้วัด kpi, HR, HRM ดัชนีวัดผลการดำเนินงาน ( Key Performance Indicator : KPI ) คือเครื่องมือที่ใช้ในการวัดผลการดำเนินงานในด้านต่าง ๆ ขององค์กร โดยใช้วิธีการกำหนดเป้าหมายและวัดออกมาได้ในเชิงตัวเลข ซึ่งใน ปัจจุบันนี้การดำเนินผลการดำเนินงานขององค์กรกำลังเป็นที่ได้รับความนิยมมากเนื่องจากสามารถที่จะเห็นปัญหาและแก้ไขปัญหาได้ถูกจุดจากการประเมินผลจากข้อมูลที่ได้เก็บเอาไว้สาเหตุที่ต้องมีการจัดทำ KPI เนื่องจากในการใช้ KPI นั้นจะส่งผลให้เกิดข้อดีของการบริหารการทำงานที่สะดวกขึ้นเพราะจะทำให้มีการทำงานที่มีเป้าหมายและต้องการที่จะให้ผลการดำเนินงานบรรลุถึงเป้าหมายที่ได้วางเอาไว้ และอีกข้อหนึ่งก็คือในข้อกำหนดของ ISO 9001:2000 ข้อกำหนดที่ 5.4.1 ได้กล่าวไว้ว่า ทุกหน่วยงานและระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการดำเนินงานจะต้องมีเป้าหมายภายในหน่วยงานนั้น ๆ และเป้าหมายนั้นจะต้องวัดค่าได้และสอดคล้องกับนโยบายคุณภาพ ซึ่งมีขั้นตอนในการทำ KPI ดังนี้กำหนดสิ่งที่จะวัดหรือทำการประเมิน ซึ่งในการกำหนดสิ่งที่จะประเมินนี้จะขึ้นอยู่กับ-วัตถุประสงค์ หรือ เป้าหมายขององค์กร / ฝ่าย / แผนก-หน้าที่หลักของหน่วยงาน-สิ่งที่มีความสำคัญต่อองค์กร / ฝ่าย / แผนก-ปัจจัยแห่งความสำเร็จ-สิ่งที่สามารถสะท้อนถึงผลการดำเนินงาน-KPI เก่า2.กำหนดตัวชี้วัดหรือเครื่องมือที่จะใช้ในสิ่งที่ต้องการวัด3.กำหนดเกณฑ์มาตรฐานหรือตัวเปรียบเทียบ (เป้าหมาย) ซึ่งอาจจะกำหนดเองหรือจากผลการดำเนินงานในปีที่ผ่านมา4.ประเมินผลงานที่เกิดขึ้นโดยใช้ตัวชี้วัดที่กำหนด เป็นแนวทางในการประเมินผลและเก็บข้อมูล ซึ่งระบบและแหล่งที่มาของข้อมูลถือว่าเป็นหัวใจสำคัญของการประเมินผล5.เปรียบเทียบผลที่ได้รับจากการประเมินกับมาตรฐานหรือเป้าหมายที่กำหนดไว้ โดยที่ตรวจสอบว่าถึงเป้าหมายหรือไม่ ถ้าถึงเป้าหมายก็จะหาแนวทางในการดำรงรักษาเอาไว้ แต่ถ้า ไม่ถึงเป้าหมายก็จะมีการกำหนดกลยุทธ์หรือแผนงานเพื่อที่จะให้บรรลุถึงเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้6.นำผลที่ได้จากการประเมินเข้าสู่ระบบการรายงานผล โดยอาจจะใช้ช่องทางของการส่งรายงานประจำเดือนและ การทบทวนของฝ่ายบริหาร(Management Review) ทางใดทางหนึ่งหรือทั้งสองทางก็ได้โดยปกติแล้วแต่ละบริษัทจะมี KPI ประมาณ 20 – 30 ตัว ซึ่งอาจจะเริ่มต้นจากการกำหนดตัวชี้วัดให้มากไว้ก่อนแล้วจึงค่อยตัดตัวที่เห็นว่าไม่จำเป็นทิ้งไปหลักในการกำหนดเกณฑ์มาตรฐานที่ดีนั้น จะกำหนดให้ดีกว่าค่าตัวเลขของปีที่ผ่านมาและมีความท้าทายในการทำให้บรรลุถึงเป้าหมายที่ได้ตั้งไว้ ที่มา : สมาชิกเว็บไซต์ จำนวนผู้ชม 16620 ครั้ง ข้อมูลในหมวดหมู่เดียวกัน วิธีที่ฝ่าย HR จะพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงานร่วมกับผู้บริหาร บริษัทที่สร้างระบบทำงานแบบยึดผลลัพธ์เป็นเกณฑ์วัดความสำเร็จ HR : มีส่วนในการค้นผู้นำภายในองค์การอย่างไร จะเลือก : คนเก่ง หรือ คนดี ทรัพยากรมนุษย์และความต่อเนื่องของธุรกิจ การบริหารจัดการ ภาวะขาดแคลนแรงงาน (1)